Skip to main content

สโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตัน เนื้อหา ประวัติสโมสร ผู้เล่น ชุดกับสปอนเซอร์ ทำเนียบผู้จัดการทีมเอฟเวอร์ตัน นักเตะยอดเยี่ยมตลอดกาล ดาวซัลโวสูงสุดตลอดกาล ทำเนียบนักเตะระดับตำนานของทีม เกียรติประวัติ อ้างอิง แหล่งข้อมูลอื่น รายการเลือกการนำทางเว็บไซต์สโมสร"Premier League Handbook Season 2015/16""First team""Everton FC agree three-year kit deal with US sportswear giant Nike"www.evertonfc.comสโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตันth.evertonfc.comwww.facebook.com/evertonfcthailandwww.toffeweb.comwww.bluesblood.comwww.evertonthailand.comwww.facebook.com/Everton.Thailand

1992–931993–941994–951995–961996–971997–981998–991999–20002000–012001–022002–032003–042004–052005–062006–072007–082008–092009–102010–112011–122012–132013–142014–152015–162016–172017–182018–192019–20


สโมสรฟุตบอลในประเทศอังกฤษสโมสรในพรีเมียร์ลีกสโมสรกีฬาที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2421


อังกฤษฟุตบอลกูดิสันพาร์กลิเวอร์พูลแอนฟีลด์ลิเวอร์พูลค.ศ. 1878ดิ๊กซี่ ดีนยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกอริก ดิเออร์แยน มูค่าแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดทิม เคฮิลมิเกล อาร์เตตาเบอร์มิงแฮม ซิตี้พรีเมียร์ลีกนิกิซา เยลาวิชดาร์รอน กิ๊บสันควีนส์พาร์ก เรนเจอร์ส1 กรกฎาคมค.ศ. 2013เดวิด มอยส์แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดโรแบร์โต้ มาร์ติเนซ5 มิถุนายนค.ศ. 2013










(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());




สโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตัน




จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี






ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา























เอฟเวอร์ตัน
Everton F.C. 2014.png
ชื่อเต็มสโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตัน
ฉายาThe Toffees
The Blues
ทอฟฟีสีน้ำเงิน
ก่อตั้ง1878; 141 ปีที่แล้ว (1878)
(ในชื่อ สโมสรฟุตบอลเซนต์โดมิงโก)
สนาม
กูดิสันพาร์ก, ลิเวอร์พูล, สหราชอาณาจักร
(ความจุ: 39,572[1])
เจ้าของฟาร์ฮาด โมชีรี
ประธานสโมสรบิลล์ เคนไรต์
ผู้จัดการทีมมาร์กู ซิลวา
ลีกพรีเมียร์ลีก
2018–19พรีเมียร์ลีก อันดับที่ 8
เว็บไซต์เว็บไซต์สโมสร
















สีชุดเหย้า














สีชุดเยือน



ฤดูกาลปัจจุบัน

สโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตัน (อังกฤษ: Everton Football Club) เป็นสโมสรฟุตบอลของอังกฤษ มีสนามเหย้าคือกูดิสันพาร์กในเมืองลิเวอร์พูล ซึ่งห่างจากสนามแอนฟีลด์ของลิเวอร์พูลเพียงแค่สวนสาธารณะกั้น
เอฟเวอร์ตันเป็นคู่ปรับร่วมเมืองของลิเวอร์พูล แฟนฟุตบอลชาวไทยตั้งฉายาให้ว่า "ทอฟฟีสีน้ำเงิน"




เนื้อหา





  • 1 ประวัติสโมสร


  • 2 ผู้เล่น

    • 2.1 ผู้เล่นชุดปัจจุบัน



  • 3 ชุดกับสปอนเซอร์


  • 4 ทำเนียบผู้จัดการทีมเอฟเวอร์ตัน


  • 5 นักเตะยอดเยี่ยมตลอดกาล


  • 6 ดาวซัลโวสูงสุดตลอดกาล


  • 7 ทำเนียบนักเตะระดับตำนานของทีม


  • 8 เกียรติประวัติ

    • 8.1 ระดับประเทศ


    • 8.2 ระดับยุโรป



  • 9 อ้างอิง


  • 10 แหล่งข้อมูลอื่น




ประวัติสโมสร


สโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตันเป็นสโมสรฟุตบอลที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของประเทศอังกฤษ ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1878 โดยใช้ชื่อว่า สโมสรฟุตบอลเซนต์โดมิงโกตามชื่อโบสถ์แห่งหนึ่งในเมืองลิเวอร์พูล และเปลี่ยนชื่อเป็นสโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตันในปี 1884 และใช้สนามแอนฟีลด์โรดเป็นสนามเหย้า โดยมี จอห์น โฮลดิง ซึ่งดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรีเมืองลิเวอร์พูลและสมาชิกสภาผู้แทนพรรคอนุรักษนิยมเป็นประธานสโมสร


เอฟเวอร์ตันคว้าแชมป์แรกได้ในฤดูกาล 1890-1891 ซึ่งในปีนั้น "ทอฟฟีสีน้ำเงิน" มีชุดทีมเป็นเสื้อสีชมพูอ่อน กางเกงสีฟ้า ถุงเท้าสีฟ้า และต่อมากลุ่มแฟนบอล เอฟเวอร์ตัน ได้เรียกร้องให้ใช้เสื้อสีน้ำเงิน กางเกงสีขาว ถุงเท้าสีขาว เป็นชุดประจำสโมสรมาจนถึงปัจจุบัน


เมื่อวันที่ 15 มี.ค.1892 ผู้บริหารสโมสรได้ตัดสินใจปลด จอห์น โฮลดิง ออกจากตำแหน่งและได้ย้ายทีมเอฟเวอร์ตันไปยังฝั่งตะวันตกของสแตนลีย์พาร์ก ซึ่งในสมัยนั้นเรียกพ้นที่บริเวณนั้นว่า กรีน เมอร์ ต่อมาสนามแห่งนั้นถูกเรียกชื่อตามถนน เป็นกูดิสันพาร์ก จนถึงปัจจุบัน
ในฤดูกาล 1893-1894 แจ็ค เซาธ์เวิร์ธ เป็นดาวยิงสูงสุดของลีกอังกฤษ ด้วยจำนวน 27 ประตู ซึ่งอดีตนักเตะแบล็กเบิร์นโรเวอส์รายนี้ถือเป็นดาวซัลโวสูงสุดรายแรกของเอฟเวอร์ตัน


ฤดูกาล 1927-1928 (หลังสงครามโลกครั้งที่ 1)เอฟเวอร์ตัน ได้สร้างสถิติที่ไม่มีใครลบได้จนถึงปัจจุบัน เมื่อดิ๊กซี่ ดีน กองหน้าชาวอังกฤษทำประตูให้กับสโมสรได้ถึง 60 ประตูในหนี่งฤดูกาล และเป็นสถิติการทำประตูในหนึ่งฤดูกาลที่มากที่สุดในลีกอังกฤษ


เอฟเวอร์ตันเริ่มต้นยุคใหม่ในปี 1961 (หลังสงครามโลกครั้งที่ 2) เมื่อได้จอห์น มัวส์ มหาเศรษฐีชาวเมืองลิเวอร์พูล ที่เป็นเจ้าของกิจการลิต เติลวูด พูล และ ธุรกิจการส่งของทางอากาศ เป็นประธานสโมสร โดยมี แฮร์รี แคทเทอร์ริค เป็นผู้จัดการทีม ซึ่ง เอฟเวอร์ตัน ยุคนั้นมี โฮเวิร์ด เคนดัลล์, อลัน บอลล์ และ โคลิน ฮาร์วีย์ เป็นกำลังสำคัญซึ่งทั้ง 3 พาทีมครองแชมป์ลีกสูงสุดของอังกฤษได้อีกครั้งในฤดูกาล 1962-1963 ก่อนที่ แฮร์รี แคตเทอร์ริค จะลาออกจากตำแหน่งผู้จัดการทีมเนื่องจากมีปัญหาด้านสุขภาพ


หลังจากนั้น บิลลี บิงแฮม ได้ทำหน้าที่ผู้จัดการทีมแทน แคตเทอร์ริค แต่เอฟเวอร์ตัน ก็ไม่เคยคว้าแชมป์ได้เลยตลอดระยะเวลา 3 ปีที่คุมทีม จนในที่สุดบอร์ดบริหารได้ตัดสินใจปลด บิงแฮม ออกจากตำแหน่ง และแต่งตั้ง กอร์ดอน ลี มารับตำแหน่งแทน แต่ผลงานโดยรวมของ เอฟเวอร์ตัน ก็ไม่ดีขึ้นแต่งอย่างใด


ในช่วงทศวรรษที่ 1980-1990 เป็นการกลับมายิ่งใหญ่อีกครั้งของทีมสีน้ำเงิน เมื่อ ฟิลิป คาร์เตอร์ เข้ามารับตำแหน่งประธานสโมสร แทนที่จอห์น มัวร์ส และได้ดึง โฮเวิร์ด เคนดัลล์ เป็นผู้จัดการทีม โดยที่ เคนดัลล์ นำความสำเร็จมาสู่เอฟเวอร์ตันอีกครั้ง โดยพาทีมคว้าแชมป์ เอฟ เอ คัพ ในปี 1984 และสามารถเอาชนะลิเวอร์พูลในศึกแชริตี้ ชิลด์ ปีถัดมายังได้แชมป์ดิวิชั่น1 มาครอง ในปี 1984-1985 โดยทิ้งลิเวอร์พูลอันดับ 2 ถึง 13 แต้ม และคว้าแชมป์ยูโรเปี้ยนส์คัพวินเนอร์คัพมาครอง ด้วยการ ถล่มราปิด เวียนนา จากออสเตรีย 3-1
ฤดูการ 1986-87 เอฟเวอร์ตันกลับมาคว้าแชมป์ลีกสูงสุดอีกครั้ง และเป็นครั้งล่าสุดที่ทำได้
ทศวรรษที่ 1990 เอฟเวอร์ตัน ได้มีการเปลี่ยนแปลงประธานสโมสรอีกครั้งโดยมี ปีเตอร์ จอห์นสัน เข้ามาบริหารงาน และได้มีการเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีมเป็น โจ รอยส์ , โคลิน ฮาร์วีย์ และ โฮเวิร์ด เคนดัลล์ ซึ่งทั้งหมดคือดีตนักเตะของทีมนั่นเอง แต่ผลงานของทีมก็ไม่ดีขึ้น ซึ่งตลอดระยะเวลาดังกล่าวทีมได้แชมป์ เอฟ เอ คัพ ในปี 1995 เท่านั้น




ศึกเมอร์ซีไซด์ดาร์บีระหว่างสโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตันกับสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล ในปี ค.ศ. 2006


จนกระทั่งปี 1999 บิลล์ เคนไรท์ ได้เข้ามารับตำแหน่งประธานสโมสรและได้แต่งตั้ง วอลเตอร์ สมิธ เป็นผู้จัดการทีม จนถึงปี 2002 เอฟเวอร์ตัน ก็ได้ตัว เดวิด มอยส์ เป็นผู้จัดการทีมคนใหม่ โดยในฤดูกาลแรก เดวิด มอยส์ พาเอฟเวอร์ตัน หนีตกชั้นได้สำเร็จโดยจบฤดูกาลด้วยอันดับที่ 15 ฤดูกาลต่อมาก็พาทีมสร้างผลงานอันสุดยอดโดยการจบฤดูกาลด้วยอันดับ 7 แม้ว่าฤดูกาลต่อมานักเตะจะเล่นด้วยความรู้สึกเหมือนไร้หัวใจ จนเกือบร่วงสู่ลีกแชมเปี้ยนชิพโดยมีคะแนนอยู่เหนือโซนตกชั้นเพียง 3 คะแนน และเริ่มฤดูกาล 2003-2004 โดยการสูญเสียดาวยิงที่เป็นความหวังของทีมอย่าง เวน รูนี่ย์ ไปให้แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด แต่เดวิด มอยส์ กลับสร้างเซอร์ไพรซ์ ด้วยการพาทีมจบฤดูกาลด้วยอันดับที่ 4 คว้า ตั๋วใบสุดท้ายไปเล่น ยูฟ่า แชมเปียนส์ลีกรอบคัดเลือก และสร้างความหวังให้แก่สาวกของเอฟเวอร์โตเนี่ยน แต่ก็ต้องผิดหวังเมื่อไม่สามารถผ่านรอบคัดเลือก และยังกระเด็นตกรอบยูฟ่าคัพอีกด้วย ถือเป็นฤดูกาลที่น่าเจ็บปวด แถมผลงานในฤดูกาล 2004 - 2005 นั้นก็ไม่เป็นอย่างที่หวัง เพราะเอฟเวอร์ตันออกตัวได้อย่างย่ำแย่ โดยไม่เหลือเค้าทีมที่เคยคว้าอันดับ 4 เมื่อฤดูกาลก่อน จนมีเสียงวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของเดวิด มอยส์ และเสียงเรียกร้องจากแฟนบอลทั่วโลกให้ปลดผู้จัดการทีมออก แต่อย่างไรก็ตามบอร์ดบริหารของสโมสรยังคงไว้ใจให้เขาทำหน้าที่ผู้จัดการทีมต่อไป และ เดวิด มอยส์ ก็ได้พิสูจน์ให้เห็นความสามารถที่แท้จริงของเขา เมื่อสามารถทำให้เอฟเวอร์ตันจบฤดูกาล ได้ด้วยอันดับที่ 11
ฤดูกาล 2006-2007 เอฟเวอร์ตันยังคงมุ่งมั่นที่จะพัฒนาตัวเองให้กลายเป็นทีมระดับต้น ๆ ของพรีเมียร์ชิป ภายใต้การทำทีมของ เดวิด มอยส์ ที่ยังคงเสาะหานักเตะฝีเท้าดีราคาถูกเข้ามาสู่ทีมอย่างไม่ขาดสาย ผลงานของเอฟเวอร์ตันดีวันดีคืนจนกระทั่งสามารถจบฤดูกาลด้วยอันดับที่ 6 คว้าโควตาไปเล่น ยูฟ่า คัพ ได้สำเร็จและเริ่มต้นฤดูกาลด้วยความร้อนแรง จนสร้างความหวังให้แก่สาวกเอฟเวอร์โตเนี่ยนว่าความยิ่งใหญ่กำลังจะกลับมา รวมถึงทำผลงานได้อย่างยอดเยี่ยมในถ้วย ยูฟ่า คัพ ด้วยการผ่านรอบแบ่งกลุ่มพร้อมเก็บ 12 คะแนนเต็ม เดวิด มอยส์ ทำหน้าที่ผู้จัดการทีมได้อย่างยอดเยี่ยมมาจนถึงปัจจุบัน และกล้าประกาศตัวที่จะคว้าโควตา ไปเล่น ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก โดยการจบฤดูกาลด้วยอันดับที่ 4 เป็นอย่างน้อย ซึ่ง พัฒนาการของทีมที่เห็นเป็นรูปธรรมนั้น ทำให้แฟนบอลเชื่อมั่นว่า เอฟเวอร์ตันกำลังเข้าสู่ยุครุ่งเรือง เมื่อ เดวิด มอยส์ ส่งสัญญาณการคุมทีมระยะยาว โดยการคัดเลือกดาวรุ่งฝีเท้าดีเข้ามาเติมเต็มถิ่นกูดิสัน ปาร์กอย่างต่อเนื่อง ภายใต้วิสัยทัศน์และสติปัญญาของเดวิดมอยส์ที่เน้นคุณภาพในราคาประหยัด ตามลักษณะนิสัยโดยทั่วไปของชาวสก๊อต นั่นทำให้เอฟเวอร์ตันเป็นอีกทีมหนึ่งที่มีอนาคตสดใส
ในฤดูกาล2008-2009 เอฟเวอร์ตันสามารถผ่านเข้าไปรอบชิงชนะเลิศฟุตบอล เอฟเอคัพได้สำเร็จแต่ก็พลาดท่าแพ้เชลซีไป2-1และจบฤดูกาลได้อันดับ5ได้โควตาไปเล่นยูฟ่าคัพซึ่งทำให้ความคาดหวังของแฟนเชียร์สูงขึ้นมาก แต่ในฤดูกาล 2009-2010 เอฟเวอร์ตันเริ่มนัดแรกด้วยการพ่ายแพ้ให้กับอาร์เซนอลชนิดไม่มีลุ้นด้วยสกอร์ 6-1 ทำให้มอยส์เริ่มดึงตัวนักเตะราคาแพงอย่าง ดินิยาร์ บิลยาเลตดินอฟ ปีกทีมชาติรัสเซีย และจอห์น ไฮติงก้า กองหลังทีมชาติฮอลแลนด์ เอฟเวอร์ตันมีผลงานดีขึ้นเรื่อยๆซึ่งในฤดูกาลนี้มีสิ่งที่น่าจดจำคือ หลุยส์ ซาฮา อดีตกองหน้าแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ยิง 2 ประตูให้เอฟเวอร์ตันพลิกชนะเชลซี 2-1 พร้อมกับการแจ้งเกิดอย่างเต็มตัวของ แจ็ค ร็อดเวลล์ และ แดน กอสลิ่ง 2 ดาวรุ่งของทีมซึ่งยิงประตูให้ทีมชนะแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดไปได้ 3-1 โดยในเกมส์ดังกล่าว ดินิยาร์ บิลยาเลตดินอฟ ได้ทำประตูด้วย ซึ่งทั้งสองเกมส์เกิดขึ้นในสองสัปดาห์ติดกัน


โดยในฤดูกาล 2010-2011 เดวิด มอยส์ ได้เริ่มซื้อและยืมตัวนักเตะจากสโมสรชื่อดังในต่างๆ ในแต่ละประเทศเข้ามาเพิ่มมากขึ้น อาทิเช่น อริก ดิเออร์ จาก สปอร์ติงลิสบอน , แยน มูค่า นายประตูชาว สโลวาเกีย เป็นต้น โดยนัดแรกมอยส์ออกสตาร์ทฤดูกาลได้ไม่ค่อยดีนัก เมื่อเอฟเวอร์ตันเอาชนะคู่แข่งไม่ได้ถึง 6 นัด ซึ่งเป็นการแพ้ 3 นัดและเสมออีก 3 นัด โดยนัดแรกแพ้ให้กับ แบล็กเบิร์น โรเวอร์ส ไป 1-0 ที่ อีวู๊ด พาร์ก และ มาเสมอกับ วูล์ฟแฮมตัน วันเดอเรอส์ ในบ้านของตัวเอง 1-1 แต่มอยส์ก็สามารถสร้างความฮึกเหิมด้วยการยันเสมอ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ที่ กูดิสัน พาร์ก ในนัดที่ 4 ซึ่งเอฟเวอร์ตันสามารถไล่ตามตีเสมอ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด แบบหวุดหวิดด้วยสกอร์ 3-3 ในช่วงทดเวลาบาดเจ็บจากประตูของ ทิม เคฮิล และมิเกล อาร์เตตา และหลังจากนั้น มอยส์ ก็นำลูกทีมคว้าชัยนัดแรกของฤดูกาลโดยในการไปเยือน เบอร์มิงแฮม ซิตี้ และเอาชนะไป 2-0 หลังจากนั้นก็สามารถชนะคู่แข่งร่วมเมืองอย่าง ลิเวอร์พูล ในบ้านของตนได้ 2-0 ในฤดูกาลนี้ มอยส์ สร้างความแปลกประหลาดใจให้กับแฟนเอฟเวอร์ตันได้หลายครั้ง โดยการเอาชนะทีมใหญ่ อาทิเช่น บุกไปเฉือน แมนเชสเตอร์ซิตี 2-1 ถึง เอติฮัต สเตเดี้ยม (และในบ้านของเอฟเวอร์ตันก็เอาชนะไปได้ 2-1), ชนะ ท็อตแน่ม ฮ็อตสเปอร์ ได้ในบ้านของตน 2-1, ชนะนิวคาสเซิล ยูไนเต็ด ได้ 2-1 ที่เซนต์ เจมส์ พาร์ก และปิดท้ายในฤดูกาลได้อย่างสุดสวยด้วยเอาการชนะ เชลซี 2-1 ในบ้านของตน โดยมอยส์นำทีมจบอันดับที่ 7 ของ พรีเมียร์ลีก ในฤดูกาล 2010-11





เดวิด มอยส์ อดีตผู้จัดการทีมที่ประสบความสำเร็จคนหนึ่งกับสโมสร


ในช่วงฤดูกาล 2011-12 เดวิด มอยส์ ได้ซื้อนักเตะใหม่ที่มีชื่อเสียงในระดับกลางเช่น นิกิซา เยลาวิช , ดาร์รอน กิ๊บสัน จากแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด เป็นต้น


ซึ่งนัดแรกของฤดูกาลกลับออกสตาร์ทได้อย่างผิดพลาดโดยแพ้ในบ้านให้กับทีมที่เพิ่งเลื่อนชั้นขึ้นมาอย่าง ควีนส์พาร์ก เรนเจอร์ส ไป 1-0 แต่นัดถัดมาสามารถแก้ตัวด้วยการบุกไปเอาชนะ แบล็คเบิร์น โรเวอร์ส ได้ 1-0
16
ในวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2013 เดวิด มอยส์ ซึ่งหมดสัญญากับเอฟเวอร์ตัน ได้ย้ายไปรับตำแหน่งผู้จัดการทีม แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด แทนที่ เซอร์อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน ที่ลงจากตำแหน่งหลังจากคุมทีมมาอย่างยาวนาน โดย มอยส์ เซ็นต์สัญญาเป็นนายใหญ่ให้กับทีมจากถิ่น โอลด์ แทร็ฟฟอร์ด เป็นระยะเวลาถึง 6 ปีด้วยกัน โดยเอฟเวอร์ตันได้ประกาศแต่งตั้ง โรแบร์โต้ มาร์ติเนซ ผู้จัดการทีมชาวสเปน วัย 39 ปี จาก วีแกน แอธเลติก ขึ้นดำรงตำแหน่งผู้จัดการทีมเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 2013 ด้วยสัญญา 4 ปี


ในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2016 สโมสรได้แถลงอย่างเป็นทางการว่า ฟาฮัด โมชีรี นักธุรกิจชาวอังกฤษเชื้อสายอิหร่านได้เข้าซื้อกิจการสโมสรเป็นที่เรียบร้อยแล้วโดยโมชีรีถือหุ้นจำนวน 49.9 % ทำให้เขากลายเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในทันทีซึ่งโมชีรีได้ประกาศว่าจะพาเอฟเวอร์ตันกลับมายิ่งใหญ่ภายใน 3 ปี


แต่ต่อมาก่อนที่จะสิ้นฤดูกาลเพียงนัดเดียว สโมสรได้ทำการปลดมาร์ติเนซออกจากตำแหน่ง เนื่องจากผลงานในระยะหลัง ๆ ล้มเหลวอย่างสิ้นเชิง โดย 10 นัด ชนะเพียงแค่นัดเดียวเท่านั้น



ผู้เล่น



ผู้เล่นชุดปัจจุบัน



ณ วันที่ 13 สิงหาคม 2019[2]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ



































































No.

ตำแหน่ง
ผู้เล่น
1

อังกฤษ

GK

จอร์แดน พิกฟอร์ด
2

อังกฤษ

DF

เมสัน ฮอลเกต
3

อังกฤษ

DF

เลห์ตัน เบนส์ (กัปตัน)
5

อังกฤษ

DF

ไมเคิล คีน
7

บราซิล

FW

รีชาร์ลีซง
8

อังกฤษ

MF

เฟเบียน เดลฟ์
9

อังกฤษ

FW

ดอมินิก แคลเวิร์ต-ลูอิน
10

ไอซ์แลนด์

MF

จิลวี ซีกืร์ดซอน
11

อังกฤษ

FW

ทีโอ วอลคอตต์
12

ฝรั่งเศส

DF

ลูว์กา ดีญ
13

โคลอมเบีย

DF

เยร์ริ มินา
14

ตุรกี

FW

แจงค์ โทซุน
17

ไนจีเรีย

FW

อเล็กซ์ อิโวบี
18

ฝรั่งเศส

MF

มอร์แกน ชเนแดร์แล็ง



























































No.

ตำแหน่ง
ผู้เล่น
19

ฝรั่งเศส

DF

จีบรีล ซีดีเบ (ยืมตัวมาจาก มอนาโก)
20

บราซิล

FW

Bernard
21

โปรตุเกส

MF

อังแดร โกมึช
22

เนเธอร์แลนด์

GK

มาร์เติน สเตเกอเลินบืร์ค
23

สาธารณรัฐไอร์แลนด์

DF

เชมัส โคลแมน (รองกัปตัน)
25

โกตดิวัวร์

MF

ฌ็อง-ฟีลิป บาแม็ง
26

อังกฤษ

MF

ทอม เดวีส์
27

อิตาลี

FW

โมอีเซ เกน
28

เบลเยียม

MF

เกบิน มีรายัส
29

เซเนกัล

FW

อูมาร์ นีอัซ
30

กือราเซา

DF

Cuco Martina
31

Democratic Republic of the Congo

MF

ยันนิก บอลาซี
49

เดนมาร์ก

GK

โยนัส เลอเซิล


ชุดกับสปอนเซอร์


































ปี
ชุดที่ใช้
สปอนเซอร์
1974–79

อัมโบร

none
1979–83
Hafnia
1983–85

เลอ คอก สปอร์ติฟ
1985–86

NEC
1986–95

อัมโบร
1995–97

เดนคา
1997–2000

One 2 One
2000–02

พูม่า
2002–04

เคอเจี้ยน
2004–09

อัมโบร

เบียร์ช้าง
2009–12

เลอ คอก สปอร์ติฟ
2012–17

ไนกี้[3]
2017–

อัมโบร

สปอตเปซ่า


ทำเนียบผู้จัดการทีมเอฟเวอร์ตัน











































































































อันดับชื่อฤดูกาลจำนวนเกมเปอร์เซ็นต์คุมทีมชนะ
1
Theo Kelly
1939 - 194810247
2
Cliff Briton
1948 - 195633950
3
Ian Buchan
1956 - 19589943
4
Johnny Carey
1958 - 196112251
5
Harry Catterick
1961 - 197359460
6
Billy Bingham
1973 - 197717253
7
Steve Burtenshaw
1977 - 1977150
8
Gordon Lee
1977 - 198123455
9
Howard Kendall
1981 - 198733866
10
Colin Harvey
1987 - 199017457
11
Howard Kendall
1990 - 199312251
12
Mike Walker
1994 - 19943432
13
Joe Royle
1994 - 199711955
14
Howard Kendall
1997 - 19984242
15
Walter Smith
1998 - 200216846
16
David Moyes
2002 - 201351642
17
Roberto Martínez
2013 - 201614043
18
Ronald Koeman
2016 - 20175841
19
Sam Allardyce
2017 - 20182639
20
Marco Silva
20184241


นักเตะยอดเยี่ยมตลอดกาล




ดาวซัลโว 60 ประตูต่อ 1 ฤดูกาล


  • ผู้รักษาประตู - เนวิลล์ เซาท์ธอลล์ (1981-1997)

  • แบ็กซ้าย - Gary Stevens (1982-1989)

  • เซ็นเตอร์ฮาล์ฟ - Brian Labone (1958-1971)

  • เซ็นเตอร์ฮาล์ฟ - Kevin Ratcliffe (1980-1991)

  • แบ็กขวา - Ray Wilson (1964-1969)

  • ปีกขวา - Trevor Steven (1983-1990)

  • มิดฟิลด์ - Alan Ball (1966-1971)

  • มิดฟิลด์ - ปีเตอร์ รีด (1982-1989)

  • ปีกซ้าย - Kevin Sheedy (1982-1992)

  • กองหน้า ดิ๊กซี่ ดีน (1925-1937)

  • กองหน้า - Graeme Sharp (1980-1991)




ดาวซัลโวสูงสุดตลอดกาล



  • ดิ๊กซี่ ดีน ลงสนามฤดูกาล 1920 - 1929 ลงเล่น 433 แมตช์ ทำได้ 383 ประตู




ทำเนียบนักเตะระดับตำนานของทีม




















































































































อันดับชื่อฤดูกาลที่ร่วมทีมจำนวนเกมประตูตำแหน่ง
1
ปีเตอร์ รีด
1982 - 198923413MF
2
Graeme Sharp
1979 - 1991447159FW
3
Joe Royle
1966 - 1974275119FW
4
Kevin Ratcliffe
1980 - 19914612CB
5
Ray Wilson
1964 - 19691160LB
6
Alan Ball
1966 - 197120866MF
7
Howard Kendall
1967 - 197422921MF
8
Dave Watson
1990 - 199952428CB
9
เนวิลล์ เซาท์ธอลล์
1980 - 19897510GK
10
Bob Latchford
1970 - 1979289138FW
11
Alex Young
1960 - 196927387FW
12
Dave Hickson
1950 - 1959243111FW
13
Thomas George Jones
1940 - 19491785CB
14
Ted Sagar
1930 - 19394990GK
15
ดิ๊กซี่ ดีน
1920 - 1929433383FW
16
Sam Chedgzoy
1910 - 191930036MF
17
Jack Sharp
1900 - 190934280MF
18
Colin Harvey
1963 - 197438424MF




เกียรติประวัติ



ระดับประเทศ


ดิวิชันหนึ่ง



  • ชนะเลิศ: (9)  – 1890–91, 1914–15, 1927–28, 1931–32, 1938–39, 1962–63, 1969–70, 1984–85, 1986–87


  • รองชนะเลิศ: (7) – 1889–90, 1894–95, 1901–02, 1904–05, 1908–09, 1911–12, 1985–86

ฟุตบอลลีกดิวิชั่น 2



  • ชนะเลิศ: (1)  – 1930–31


  • รองชนะเลิศ: (1)  – 1953–54

เอฟเอคัพ



  • ชนะเลิศ: (5)  – 1906, 1933, 1966, 1984, 1995


  • รองชนะเลิศ: (8)  – 1893, 1897, 1907, 1968, 1985, 1986, 1989, 2009

ฟุตบอลลีกคัพ



  • รองชนะเลิศ: 2  – 1977, 1984

เอฟเอแชริตีชิลด์



  • ชนะเลิศ: (9)  – 1928, 1932, 1963, 1970, 1984, 1985, 1986 (shared), 1987, 1995


  • รองชนะเลิศ: 2 สมัย – 1933, 1966

ฟูลเม็มเบอร์คัพ



  • รองชนะเลิศ: (2)  – 1989, 1991

ซูเปอร์คัพ (อังกฤษ)



  • รองชนะเลิศ: (1)  – 1985–86

เอฟเอ ยอร์ท คัพ



  • ชนะเลิศ: (3) 1965, 1984, 1998


  • รองชนะเลิศ: (4) 1961, 1977, 1983, 2002

เซนทรัล ลีก



  • ชนะเลิศ: (4) 1912– 1913–1914, 1937–38, 1953–54, 1967–68

ลานแคชเชีย ซีเนียร์ คัพ



  • ชนะเลิศ: (6)  – 1894, 1897, 1910, 1935, 1940, 1964

ลิเวอร์พูล ซีเนียร์ คัพ



  • ชนะเลิศ: (45)  – 1884, 1886, 1887, 1890, 1891, 1892, 1894, 1895, 1896, 1898, 1899, 1900, 1904, 1906, 1908, 1910 (shared), 1911, 1912 (shared), 1914, 1919, 1921, 1922, 1923, 1924, 1926, 1928, 1934 (shared), 1936 (shared), 1938, 1940, 1945, 1953, 1954, 1956, 1957, 1958 (shared), 1959, 1960, 1961, 1982 (shared), 1983, 1996, 2003, 2005, 2007


ระดับยุโรป



  • ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ

    • ชนะเลิศ: (1)  – 1985


  • World Soccer Magazine World Team of the Year

    • ชนะเลิศ (1) – 1985


อ้างอิง




  1. "Premier League Handbook Season 2015/16" (PDF). Premier League. สืบค้นเมื่อ 23 May 2016..mw-parser-output cite.citationfont-style:inherit.mw-parser-output qquotes:"""""""'""'".mw-parser-output code.cs1-codecolor:inherit;background:inherit;border:inherit;padding:inherit.mw-parser-output .cs1-lock-free abackground:url("//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/6/65/Lock-green.svg/9px-Lock-green.svg.png")no-repeat;background-position:right .1em center.mw-parser-output .cs1-lock-limited a,.mw-parser-output .cs1-lock-registration abackground:url("//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/d/d6/Lock-gray-alt-2.svg/9px-Lock-gray-alt-2.svg.png")no-repeat;background-position:right .1em center.mw-parser-output .cs1-lock-subscription abackground:url("//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/a/aa/Lock-red-alt-2.svg/9px-Lock-red-alt-2.svg.png")no-repeat;background-position:right .1em center.mw-parser-output .cs1-subscription,.mw-parser-output .cs1-registrationcolor:#555.mw-parser-output .cs1-subscription span,.mw-parser-output .cs1-registration spanborder-bottom:1px dotted;cursor:help.mw-parser-output .cs1-hidden-errordisplay:none;font-size:100%.mw-parser-output .cs1-visible-errorfont-size:100%.mw-parser-output .cs1-subscription,.mw-parser-output .cs1-registration,.mw-parser-output .cs1-formatfont-size:95%.mw-parser-output .cs1-kern-left,.mw-parser-output .cs1-kern-wl-leftpadding-left:0.2em.mw-parser-output .cs1-kern-right,.mw-parser-output .cs1-kern-wl-rightpadding-right:0.2em


  2. "First team". Everton F.C. สืบค้นเมื่อ 15 July 2019.


  3. O'Keeffe, Greg (8 March 2012). "Everton FC agree three-year kit deal with US sportswear giant Nike". Liverpool Echo. สืบค้นเมื่อ 8 June 2012.




แหล่งข้อมูลอื่น



  • www.evertonfc.com (อังกฤษ) Official Website


  • สโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตัน ที่เฟซบุ๊ก


  • th.evertonfc.com เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของสโมสรเอฟเวอร์ตัน ภาคภาษาไทย


  • www.facebook.com/evertonfcthailand แฟนเพจอย่างเป็นทางการของสโมสรเอฟเวอร์ตัน ภาคภาษาไทย

  • www.toffeweb.com


  • www.bluesblood.com Evertonians Thailand Fan Club ได้รับการรับรองให้เป็นแฟนคลับอย่างเป็นทางการจากสโมสรเอฟเวอร์ตัน


  • www.evertonthailand.com Everton Thailand Website เว็บไซต์แฟนเอฟเวอร์ตัน ภาคภาษาไทย


  • www.facebook.com/Everton.Thailand Facebook Everton Thailand แฟนเพจ ภาคภาษาไทย




ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=สโมสรฟุตบอลเอฟเวอร์ตัน&oldid=8447190"













รายการเลือกการนำทาง



























(RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.444","walltime":"0.639","ppvisitednodes":"value":3685,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":124969,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":14286,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":14,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":7,"limit":500,"unstrip-depth":"value":1,"limit":20,"unstrip-size":"value":8563,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":1,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 437.603 1 -total"," 26.51% 116.030 1 แม่แบบ:รายการอ้างอิง"," 25.60% 112.033 27 แม่แบบ:Fs_player"," 22.61% 98.930 27 แม่แบบ:Flagicon"," 21.99% 96.219 1 แม่แบบ:Infobox_football_club"," 20.77% 90.875 1 แม่แบบ:Infobox"," 20.51% 89.753 2 แม่แบบ:Cite_web"," 13.53% 59.225 2 แม่แบบ:Navbox"," 10.61% 46.441 1 แม่แบบ:ทีมพรีเมียร์ลีก"," 7.23% 31.656 1 แม่แบบ:Facebook"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.094","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":2377097,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1271","timestamp":"20190823031754","ttl":86400,"transientcontent":true););"@context":"https://schema.org","@type":"Article","name":"u0e2au0e42u0e21u0e2au0e23u0e1fu0e38u0e15u0e1au0e2du0e25u0e40u0e2du0e1fu0e40u0e27u0e2du0e23u0e4cu0e15u0e31u0e19","url":"https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%9F%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%9F%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%99","sameAs":"http://www.wikidata.org/entity/Q5794","mainEntity":"http://www.wikidata.org/entity/Q5794","author":"@type":"Organization","name":"Contributors to Wikimedia projects","publisher":"@type":"Organization","name":"Wikimedia Foundation, Inc.","logo":"@type":"ImageObject","url":"https://www.wikimedia.org/static/images/wmf-hor-googpub.png","datePublished":"2005-12-29T05:02:25Z","dateModified":"2019-08-12T17:15:31Z","image":"https://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/e/e4/Everton_F.C._2014.png"(RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgBackendResponseTime":116,"wgHostname":"mw1240"););

Popular posts from this blog

Kamusi Yaliyomo Aina za kamusi | Muundo wa kamusi | Faida za kamusi | Dhima ya picha katika kamusi | Marejeo | Tazama pia | Viungo vya nje | UrambazajiKuhusu kamusiGo-SwahiliWiki-KamusiKamusi ya Kiswahili na Kiingerezakuihariri na kuongeza habari

Swift 4 - func physicsWorld not invoked on collision? The Next CEO of Stack OverflowHow to call Objective-C code from Swift#ifdef replacement in the Swift language@selector() in Swift?#pragma mark in Swift?Swift for loop: for index, element in array?dispatch_after - GCD in Swift?Swift Beta performance: sorting arraysSplit a String into an array in Swift?The use of Swift 3 @objc inference in Swift 4 mode is deprecated?How to optimize UITableViewCell, because my UITableView lags

Access current req object everywhere in Node.js ExpressWhy are global variables considered bad practice? (node.js)Using req & res across functionsHow do I get the path to the current script with Node.js?What is Node.js' Connect, Express and “middleware”?Node.js w/ express error handling in callbackHow to access the GET parameters after “?” in Express?Modify Node.js req object parametersAccess “app” variable inside of ExpressJS/ConnectJS middleware?Node.js Express app - request objectAngular Http Module considered middleware?Session variables in ExpressJSAdd properties to the req object in expressjs with Typescript